Big Questions :
เราอยู่ส่วนไหนของจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาล ที่มาและที่ไปของจักรวาล และความหมายของการมีชีวิตอยู่ในเสี้ยวเวลาอันน้อยนิดของจักรวาลคืออะไร
เราอยู่ส่วนไหนของจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาล ที่มาและที่ไปของจักรวาล และความหมายของการมีชีวิตอยู่ในเสี้ยวเวลาอันน้อยนิดของจักรวาลคืออะไร
ภูมิหลังของปัญหา:
โลกเกิดขึ้นได้อย่างไร เรามีความเป็นมาอย่างไร ปรากฏการณ์ต่างๆเกิดขึ้นได้อย่างไร คำถามเหล่านี้ล้วนชวนให้มนุษย์ตั้งแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบันพยายามหาเหตุผล เพื่ออธิบาย ทั้งให้เหตุผลจากความเชื่อทางศาสนา และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งความลับเริ่มคลี่คลายออก เมื่อมนุษย์เริ่มคิดค้นนวัตกรรมต่างๆขึ้น เช่น กล้องโทรทัศน์ และการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง
การพยายามเอาชนะธรรมชาติของมนุษย์เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก แต่การพยายามเรียนรู้เพื่อความเข้าใจต่อจักรวาล โลก ดวงดาวและเชื่อมโยงสู่ตนเองได้อย่างรอบด้าน ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของโลกและจักรวาล โดย หันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง เพื่ออยู่กับธรรมชาติอย่างนอบน้อมและเคารพ ใช้ทรัพยากรต่างๆที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อ ให้เราและโลกสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขน่าจะเป็นทางออกที่ง่ายกว่า
การศึกษาเกี่ยวกับจักรวาล โลก และดวงดาวต่างๆจึงยังเป็นเรื่องที่น่าค้นหา น่าตื่นตาตื่นใจ น่าเรียนรู้ และท้าทายให้เราหาคำตอบจากสิ่งต่างๆรอบตัวที่เรายังไม่รู้ เพื่อความเข้าใจต่อธรรมชาติและตัวเราเอง
โลกเกิดขึ้นได้อย่างไร เรามีความเป็นมาอย่างไร ปรากฏการณ์ต่างๆเกิดขึ้นได้อย่างไร คำถามเหล่านี้ล้วนชวนให้มนุษย์ตั้งแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบันพยายามหาเหตุผล เพื่ออธิบาย ทั้งให้เหตุผลจากความเชื่อทางศาสนา และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งความลับเริ่มคลี่คลายออก เมื่อมนุษย์เริ่มคิดค้นนวัตกรรมต่างๆขึ้น เช่น กล้องโทรทัศน์ และการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง
การพยายามเอาชนะธรรมชาติของมนุษย์เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก แต่การพยายามเรียนรู้เพื่อความเข้าใจต่อจักรวาล โลก ดวงดาวและเชื่อมโยงสู่ตนเองได้อย่างรอบด้าน ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของโลกและจักรวาล โดย หันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง เพื่ออยู่กับธรรมชาติอย่างนอบน้อมและเคารพ ใช้ทรัพยากรต่างๆที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อ ให้เราและโลกสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขน่าจะเป็นทางออกที่ง่ายกว่า
การศึกษาเกี่ยวกับจักรวาล โลก และดวงดาวต่างๆจึงยังเป็นเรื่องที่น่าค้นหา น่าตื่นตาตื่นใจ น่าเรียนรู้ และท้าทายให้เราหาคำตอบจากสิ่งต่างๆรอบตัวที่เรายังไม่รู้ เพื่อความเข้าใจต่อธรรมชาติและตัวเราเอง
เป้าหมาย (Understanding Goals)
:
นักเรียนเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งที่อยู่ในห้วงจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาล รวมทั้งอธิบายเจตจำนงของการมีชีวิตอยู่อย่างมีความหมาย
นักเรียนเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งที่อยู่ในห้วงจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาล รวมทั้งอธิบายเจตจำนงของการมีชีวิตอยู่อย่างมีความหมาย
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
หน่วย
: HOME
(Miracle of the Space)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
6
Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
สิ่งที่รู้แล้ว
|
สิ่งที่อยากเรียนรู้
|
รู้ว่าดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาลมี 8 ดวง
รู้ว่าดวงพระอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะจักรวาล
รู้ว่าดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด
รู้ว่าดวงอาทิตย์คอยให้ความสว่างแก่ดาวเคราะห์
รู้ว่าดาว Neptune มีแต่ฝนและหนาว
รู้ว่าดาวพฤหัสมีพายุและมีฉายาว่ายักษ์ตาเดียว
รู้ว่าดาวเคราะห์ส่วนนอกเป็นดาวกลุ่มก๊าชส่วนใหญ่
รู้ว่ามีคนพบเห็น UFO มากมายแต่ไม่มีข้อพิสูจน์ได้
รู้ว่าสถานีอวกาศนานาชาติได้รับความร่วมมือจาก 16 ประเทศ
รู้ว่าดาวพฤหัสใหญ่ที่สุดในดาวเคราะห์ทั้ง 8
รู้ว่าดาวพุธครึ่งหนึ่งอากาศร้อนครึ่งอากาศเย็น
รู้ว่าโลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เยอะที่สุด
รู้ว่าดาวพูลโตถูกตัดออกจากระบบสุริยะจักรวาล
รู้ว่าจักรวาลเกิดจากการระเบิดครั้งใหญ่เรียกว่าBig
Bang ว่าเราอยู่ในกาแล็กซี่ทางช้างเผือก
รู้ว่าโลกมีสนามแม่เหล็กและแรงโน้มถ่วง
|
มีกาแล็กซีอื่นอีกไหม มีอะไรบ้าง
เราอยู่ไหนของจักรภพ มีดาวเหมือนโลกไหม
แสงสีน้ำตาลที่อยู่ตรงกลางกาแล็กซี่คืออะไร
ตรงกลางกาแล็กซี่คืออะไร
เราจะไปจักรวาลอื่นได้อย่างไร
โดยใช้เทคโนโลยีอะไร
นอกจากนี้แล้วมีกลุ่มดาวอื่นอีกไหม หลุมดำอยู่ตรงไหนจักรวาลสิ้นสุดที่ไหน ชั้นโอโซนอยู่ตรงไหน จักรวาลสิ้นสุดที่ไหน มีดวงอาทิตย์ทั้งหมดกี่ดวง ดวงดาวเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ?
จะมีดวงดาวอื่นที่มนุษย์อาศัยอยู่ได้หรือไม่เพราะเหตุใด
จะเชื่อได้อย่างไรว่านักดาราศาสตร์คาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นได้ถูกต้องหรือไม่ เราอยู่ที่ไหนกันแน่ เราอยู่ที่ไหนของจักรภพอันไพศาล เราอยู่ที่ไหนของความเวิ้งว้างว่างเปล่าอันอนันต์ เราจะไปต่อที่ใดของจักรภพอันไพศาล เราจะไปต่อทิศทางใดในเวิ้งว้างว่างเปล่าอันอนันต์ ตัวเราโลกและจักรภพมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ระหว่างการเดินทางจากโลกเพื่อไปสู่ดวงดาวและการสำรวจดวงดาวสิ่งไหนสำคัญที่สุดเพราะเหตุใด ทำไมเวลาแต่ละประเทศจึงแตกต่างกัน ทำไมฤดูในแต่ละทวีปจึงแตกต่างกัน |
ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL
(Problem Based Learning)
Topic: Home
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
6 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2557
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์ : สิ่งที่อยากเรียนรู้
Key
Questions
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร
ทำไมอยากเรียนเรื่องนี้
เครื่องมือคิด
Brainstorms
การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟังและจากคำถาม
Place Mat
เลือกเรื่องที่สนใจอยากเรียนรู้และให้เหตุผลประกอบ
Black board
Share
ตั้งชื่อโครงงาน
Round Rubin
คำถามที่ดีที่สุดจากการดูคลิปวีดีโอ“HOME”
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- โรงเรียน
- คลิปวีดีโอ “HOME”
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- กระดาษ A4
- สมุดบันทึก
|
กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อ
- ทบทวนความรู้เดิมที่เรียนในQuarterที่ผ่านมา
- สนทนาเกี่ยวกับเรื่องปัญหาในชุมชนและโลกที่กำลังเผชิญ เช่น ปัญหาภัยแล้ง
น้ำท่วม โลกร้อน การขาดแคลนอาหาร น้ำ การถูกขับไล่ (ไม่มีที่อยู่อาศัย) ฯลฯ
- ครูเปิดคลิปสารคดี Home และเบื้องหลังถ่ายทำการสร้างบ้านต้นไม้ของชนเผ่าปาปัวให้นักเรียนดู
- ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- เลือกหัวข้อและตั้งชื่อหน่วย Quarter 3
โดยใช้เครื่องมือคิด Card and Chart
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ ที่ 1
|
ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้จากคลิปสารคดีHomeและเบื้องหลังถ่ายทำการสร้างบ้านต้นไม้ของชนเผ่าปาปัว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 1
ภาระงาน
- ดูคลิปต่างๆ
- การสนทนาตอบคำถามแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง
- ตั้งชื่อหน่วย
- วางแผนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1
|
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจถึงการดำรงชีวิตของแต่ละชนเผ่าในแต่ละประเทศรวมถึงภูมิอากาศของแต่ละประเทศที่มีความแตกต่างกันสามารถถ่ายทอดความรู้ตลอดจนแนะนำให้ผู้อื่นเข้าใจร่วมกันได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
-
เคารพสิทธิซึ่งกันในการแสดงความคิดเห็นและการทำงานร่วมกัน
-
สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับเพื่อนๆได้
ทักษะการคิด
-
สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปรวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
และจัดการสิ่งที่ได้รับชมมาถ่ายทอดเป็นความเข้าใจของตนเองได้
-สามารถตั้งคำถามอย่างสร้างสรรค์รวมถึงทำชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
สามารถอธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม/
เข้าใจและอยากเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ
หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
|
2
|
โจทย์ : การวางแผนการเรียนรู้
Key
Questions
นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้
เครื่องมือคิด
Brainstorms
การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟังและจากคำถาม
Show and
Share
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนการเรียนรู้
ตลอดทั้ง 9 สัปดาห์
Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
Black board
Share
หลอมรวมปฏิทิน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- กระดาษบรู๊ฟ/กระดาษชาร์ตสี
- สี/ปากกาเคมี
- ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน
- กระดาษ 80 ปอนด์
|
กระบวนการวางแผนการเรียนรู้
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
- แบ่งกลุ่มนักเรียนทำปฏิทินการเรียนรู้ 9สัปดาห์
- เขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนในรูปแบบMind Mapping
- นักเรียนแบ่งหน้าที่เพื่อจัดบรรยากาศในชั้นเรียนเกี่ยวกับหัวข้อหน่วยที่จะเรียนรู้ในQuarter
3 เช่น
วาดภาพตกแต่งหน้าห้องเรียนยืมหนังสือที่เกี่ยวข้องจากห้องสมุดมาจัดที่มุมหนังสือเพื่อความสะดวกในการค้นคว้าและเรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ 2 ผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ ที่ 2
|
ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ทำสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ (แผ่นใหญ่)
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน (Mind Mapping)
- ทำปฏิทินการเรียนรู้(แผ่นเล็ก)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
ภาระงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน (Mind Mapping)
- ทำปฏิทินการเรียนรู้(แผ่นเล็ก)
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
|
ความรู้ :
นักเรียนสามารถเลือกหัวข้อที่สนใจเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลรวมทั้งออกแบบวางแผน
กระบวนการเรียนรู้ตลอด 9 สัปดาห์ได้อย่างน่าสนใจ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
-
ทำชิ้นงานและจัดมุมต่างๆตกแต่งห้องเรียนได้
-
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างเหมาะสม
- เคารพสิทธิซึ่งกันในการแสดงความคิดเห็นและการทำงานร่วมกัน
- ออกแบบวางแผนการทำงานได้อย่างเป็นขั้นตอน
- เลือกใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างคุ้มค่า
ทักษะการคิด
-
สามารถคิดวางแผนกิจกรรมให้สอดคล้องเข้ากับเนื้อหาที่เรียน
- สามารถวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
-
สามารถสังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์ลำดับเนื้อหาก่อนหลังเพื่อออกแบบปฏิทินให้น่าสนใจได้
ทักษะการสื่อสาร
สามารถอธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มวางแผนและจัดทำปฏิทินการเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการเรียนรู้
-
วางแผนทำชิ้นงานสอดคล้องของเนื้อหาและกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
-
มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ
หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
-
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความมุ่งมั่นทำงานจนสำเร็จ
|
3
|
โจทย์: ดวงดาวและระบบสุริยะจักรวาล
Key Questions
:
- จักรวาลกว้าง ใหญ่และยาวแค่ไหน
- เราอยู่ที่ไหนของจักรวาล
-นักเรียนจะออกแบบและวางแผนโมเดลจำลอง อวกาศ สุริยะจักรวาลดวงดาว
ได้อย่างไร (ใช้วัสดุรีไซเคิล)
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและฟังและจากคำถาม
- Show and Share
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับดวงดาว
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องสมุด (หมวดวิทยาศาสตร์
อวกาศและเทคโนโลยี)
- อินเทอร์เน็ตค้นคว้าเกี่ยวกับดวงดาวและระบบสุริยะจักรวาล
- บรรยากาศในห้องเรียน (มุมหนังสือเกี่ยวกับดวงดาวและระบบสุริยะจักรวาล)
- สมุดบันทึกเกี่ยวกับคำถามดวงดาวและระบบสุริยะจักรวาล
- คอมพิวเตอร์
- วิทยากร “ครูใหญ่วิเชียร
ไชยบัง (การจุดประกายเกี่ยวกับเรื่องดวงดาวและระบบสุริยะจักรวาล)
|
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถามเช่น
- ดู Application solar walk : app ดูดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
-
ครูกระตุ้นความคิดด้วยคำถาม
-
นักเรียนคิดว่านอกโลกเป็นอย่างไร
- ครูและนักเรียนได้อภิปรายและแสดงความคิดเห็นโดยกระตุ้นให้นักเรียนตั้งคำถามดังนี้
- ให้นักเรียนเลือกคำถามที่ตั้งไว้เกี่ยวระบบสุริยะโดยการเลือกหัวที่สนใจเพื่อค้นข้อมูลผ่านทางอินเตอร์เน็ต
-
ให้นักเรียนนำเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ได้จากการค้นหา
-
ทำโมเดลจำลอง
-
ครูให้นักเรียนดูคลิป TED คาร์เตอร์ เอ็มมาร์ท แสดงแผนที่ 3 มิติของจักรวาล
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคลิปวีดีโอ
-ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนจะออกแบบชิ้นของตนเองอย่างไรให้เป็นที่น่าสนใจ
-ให้นักเรียนสร้างโมเดลจำลอง
อากาศ/ดาวหาง/ดาวเคราะห์/ดาวฤกษ์/กาแล็กซี่
|
ชิ้นงาน
- โมเดลจำลอง
- การนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ ที่ 3
ภาระงาน
-
การสนทนาตอบคำถามและการอภิปรายร่วมกัน
- สืบค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
- วางแผนการออกแบบโมเดลจำลองจักรวาล ระบบสุริยะ เอกภพ
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับดวงดาวและระบบสุริยะจักรวาลได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถร่วมกิจกรรมออกแบบและวางแผนเกี่ยวกับสร้างโมเดลจำลองของดวงดาวและระบบสุริยะจักรวาล
ได้
- เลือกใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างคุ้มค่า/ของที่เหลือใช้จากบ้านหรือวัสดุที่รีไซเคิลต่างๆ
ทักษะการคิด
-
สามารถคิดวิเคราะห์ข้อมูลแยกแยะเปรียบและจัดหมวดเรื่องดวงดาวสังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดู solar walk รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มได้
-
คิดสร้างสรรค์ชิ้นงานโมเดลจำลองเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
สามารถอธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มเกี่ยวกับคำตอบที่ได้ไปค้นคว้ามาและทำความเข้าใจ
และเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ
หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
-
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
|
4
|
โจทย์ : การจำแนกดวงดาว/สิ่งมีชีวิต ไม่มีชีวิต/คาดเดา/การเทียบมาตราส่วนเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนอกโลก/โลกใบใหม่/ชักเย่อความคิดสิ่งมีชีวิตนอกโลกมีจริงไหม?
Key Questions
:
-
เราจะอาศัยอยู่ในดาวดวงอื่นได้หรือไม่เพราะเหตุใด
-
มีใครอยู่นอกโลกจริงหรือ
-
จะมีวิธีจำแนกดวงดาวอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Key Question
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม
- Show and Share
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความเกี่ยวกับมนุษย์ต่างดาว/UFOคลิปเรื่องเล่าเช้านี้ UFO สกลนคร โผล่กลางงานกีฬาสี ,คลิปเทพพนม
เมืองแมน แฉ UFO มีจริง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศในชั้นเรียน (ชาร์ตเกี่ยวกับอวกาศ)
-
อินเทอร์เน็ตค้นคว้าเกี่ยวดวงดาว สิ่งมีชีวิตนอกโลก
-
บรรยากาศในห้องเรียนมุมหนังสือเกี่ยวอวกาศและดวงดาว
|
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม
- นักเรียนคิดว่าทำไมเวลามองดวงดาวในเวลากลางคืนจึงเห็นแสงสีแตกต่างกัน
- ครูนำคลิปการจำแนกดวงดาวมาให้นักเรียนดูและสรุปร่วมกันอีกครับ
- นักเรียนสรุปความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจำแนกดวงดาวในรูปแบบต่างๆตามความน่าสนใจ
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม
- สิ่งมีชีวิตนอกโลกมีจริงหรือไม่เพราะเหตุใด
- ครูนำข่าวเกี่ยวกับมนุษย์ต่างดาว/UFOคลิปเรื่องเล่าเช้านี้ UFO สกลนคร โผล่กลางงานกีฬาสี,คลิปเทพพนมเมืองแมน แฉ UFO มีจริง
- นักเรียนแต่ละคนตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นผ่านเครื่องมือคิด Round
Rubin
- ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมชักเย่อความคิดนักเรียนสรุปความเข้าใจของตนเองลงในสมุดงาน
(PBL)
-
ครูให้นักเรียนดูคลิป "Avatar 2 (2015) Trailer" ภาพยนตร์เรื่อง
อวตาล
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด :
-
นักเรียนคิดว่าดาวดวงไหนในจักรวาลที่น่าสนใจที่มนุษย์มีโอกาสอาศัยอยู่ได้มากที่สุด
-
นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด :
-
นักเรียนคิดว่าถ้ามีสิ่งมีชีวิตในดวงดาวอื่นที่นักเรียนค้นคว้าจริงลักษณะรูปร่างของสิ่งมีชีวิตน่าจะเป็นอย่างไร
-
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและตอบคำถาม
-
ครูนำคลิปสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมต่างๆมาให้นักเรียนดู เช่น
แมมมอส อูฐ สุนัข ควาย (เขตร้อน,เขตหนาว)
- นักเรียนวาดภาพออกแบบลักษณะรูปร่างของสิ่งมีชีวิตที่น่าจะสามารถอาศัยอยู่ได้ในดวงดาวที่คิดว่ามีสิ่งมีชีวิต
|
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานต่างๆ เช่น Mind Mapping/Flowchart/ ภาพวาด / ฯลฯ ที่เป็นการสรุปความเข้าใจ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4
ภาระงาน
- หาข้อมูลเกี่ยวกับการจำแนกดวงดาว/สิ่งมีชีวิตนอกโลก/คาดเดาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนอกโลก
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายการจำแนกดาวเคราะห์ดาวฤกษ์รวมทั้งสามารถคาดเดาสิ่งมีชีวิต/ไม่มีชีวิตที่อยู่นอกโลกและให้เหตุผลประกอบได้อย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูลสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
ทักษะการคิด
-
สังเคราะห์การจัดหมวดหมู่หรือจำแนกกลุ่มดวงดาวตามเกณฑ์ของตนเองได้อย่างมีเหตุผล
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปคลิปเรื่องเล่าเช้านี้ UFO สกลนคร โผล่กลางงานกีฬาสี ,คลิปเทพพนม
เมืองแมน แฉ UFO มีจริงรวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
มีวิจารณญาณในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับมนุษย์ต่างดาวได้อย่างมีเหตุผล
- สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถอธิบายความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับ: การจำแนกดวงดาว/สิ่งมีชีวิตนอกโลก/คาดเดาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนอกโลกให้ผู้อื่นเข้าใจได้
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิหน้าที่ตนเองและผู้อื่นความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงานจนสำเร็จ
|
5
|
โจทย์ : เทคโนโลยีอวกาศ/อิทธิพลของดวงดาวต่อโลก/การทดลอง/เรื่องแรงดึงดูด/แรงเสียดทาน/แรงเหวียง/การถ่ายเทความร้อน/ความดัน/ความร้อน
Key Question
:
- มนุษย์เดินทางไปนอกโลกได้อย่างไร
-
ถ้านักเรียนถือน้ำ 1 แก้วลอยขึ้นไปนอกโลกจะเกิดอะไรขึ้นทำไมถึงคิดเช่นนั้น
-
ดวงดาวมีอิทธิพลต่อโลกหรือไม่อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Key Question
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถามเกี่ยวกับอิทธิพลของดวงดาวต่างๆ
- Show and Share
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับผลดีผลเสียของการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
- Brainstorming
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ
- ชักเย่อความคิดผลดีผลเสียของการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
แหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต (ผลดีผลเสียของการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและอิทธิพลของดวงดาวต่างๆ)
- บรรยากาศในห้องเรียน
- โรงเรียน/ชุมชน
- ภาพยนตร์เรื่อง Gravity กราวิตี้
มฤตยูแรงโน้มถ่วง
|
- ครูกระตุ้นความคิดด้วยคำถาม
-
ถ้าไม่มีดวงจันทร์เราจะอยู่ได้ไหมเพราะอะไร
-
ถ้าไม่มีดวงอาทิตย์โลกจะเป็นอย่างไร
- ดูหนังเรื่อง Gravity กราวิตี้
มฤตยูแรงโน้มถ่วง
- ตั้งคำถามกระตุ้นความคิด
-
นักเรียนคิดว่าอะไรบ้างที่เป็นผลจากพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับหนังเรื่องGravity กราวิตี้
มฤตยูแรงโน้มถ่วง
- จากนั้นครูจับฉลากแบ่งกลุ่มให้นักเรียนกลุ่ม
-
นักเรียนค้นหาข้อมูลและนำเสนอ
-
ชักเย่อความคิด “ผลดีผลเสียของการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
-
ครูกระตุ้นความคิดด้วยคำถาม
-
ดวงดาวมีอิทธิพลต่อโลกอย่างไร
-
ให้นักเรียนค้นหาข้อมูลและนำเสนอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
|
ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในรูปแบบ “บทความ”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
ภาระงาน
- ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับผลดีผลเสียของการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
- การนำเสนอ
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในรูปแบบ “บทความ”
- วางแผนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับหลักการแรงโน้มถ่วงของโลกที่ส่งผลต่อในอดีตปัจจุบันอนาคตรวมทั้งเห็นความสัมพันธ์ของดวงดาวที่ส่งผลต่อปรากฏการต่างๆในชีวิตประจำวัน
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศและอิทธิพลของดวงดาวต่างๆ
สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้เกี่ยวกับสถานีอวกาศและการสำรวจอวกาศ
ทักษะการคิด
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลองรวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
- สามารถคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
สามารถอธิบายสิ่งที่ตนเองเกี่ยวกับผลดีผลเสียของการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ/กลุ่ม/เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงานจนสำเร็จ
|
6
|
โจทย์ : โลก/โครงสร้าง/กำเนิดโลก/อายุของโลก/สิ่งมีชีวิต/สิ่งไม่มีชีวิต/แร่ธาตุ/ดิน/น้ำ/อากาศ
Key Questions
:
- โลกเกิดขึ้นได้อย่างไร
มีวิวัฒนาการอย่างไร
-
ทำไมโลกถึงล่องลอยอยู่ในอวกาศได้
เครื่องมือคิด
- Key Question
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถามเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตได้
- Show and Share
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับการกำเนิดโลก
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ตค้นคว้าเกี่ยวกับกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตได้
- บรรยากาศในห้องเรียน
- สมุดบันทึก (PBL)
|
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม
เช่น
1.โลกเกิดขึ้นได้อย่างไร มีวิวัฒนาการอย่างไร
2. ทำไมโลกถึงล่องลอยอยู่ในอวกาศได้
3. ถ้าโลกหยุดหมุน หมุนเร็วขึ้น หมุนช้าลง หมุนในแนวอื่นจะเกิดอะไรขึ้น
เพราะอะไร
4. ถ้าไม่มีดวงจันทร์จะเกิดอะไรขึ้น
5.สิ่งมีชีวิตบนโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 5กลุ่มจับฉลากเลือกคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโลก
ดวงดาว และอวกาศ พร้อมทั้งหาคำตอบ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับโลก ดวงดาว และอวกาศในรูปแบบนิทานหรือการ์ตูน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่3
|
ชิ้นงาน
- การนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับโลก ดวงดาว และอวกาศในรูปแบบนิทานหรือการ์ตูน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6
ภาระงาน
- หาข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศ
- การนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับโลก ดวงดาว และอวกาศในรูปแบบนิทานหรือการ์ตูน
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6
|
ความรู้
อธิบายการกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการกำเนินโลกสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
- เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้เรื่องโลก กำเนิดโลก
วิวัฒนาการและความสัมพันธ์ของโลกกับตัวเอง
ทักษะการคิด
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอการกำเนินโลกและวิวัฒนาการของโลกรวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
- สามารถคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
สามารถอธิบายสิ่งที่ตนเองนำเสนอการกำเนินโลกและวิวัฒนาการของโลกรวม/กลุ่ม/เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงานจนสำเร็จ
|
7
|
โจทย์ : เข้าค่ายดูดาว/ทักษะชีวิต/นิวรณ์ 5 /การสังเกตการณ์ขึ้นของดวงดาว/ความสัมพันธ์
ฯลฯ
Key Questions
:
- นักเรียนควรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอะไรบ้างก่อนเข้าค่ายดูดาว
-
นักเรียนวางแผนการเข้าค่ายดูดาวอย่างไรให้เกิดการเรียนรู้
เครื่องมือคิด
- Brainstorming
แสดงความคิดเห็น
- Show & Share
นำเสนอความเข้าใจจากการสุนทรียการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม
นิวรณ์ 5 และการเข้าค่ายดูดาว
- Place Mat
สิ่งที่ได้เรียนรู้จักการเข้าค่ายดูดาว
- mind mapping
สรุปจากสิ่งที่ได้เข้าค่ายดูดาว
- Short Note
บันทึกความรู้ความประทับใจจากการเข้าค่ายดูดาว
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
-
วิทยากรรับเชิญ
ครูใหญ่วิเชียร
ไชยบัง
- แผนที่ดูดาว
-กล้องขยายซูมดูดาว
-
กระดาษบรู๊ฟ/สีเมจิก
-
อุปกรณ์เข้าค่ายดูดาว/การแสดง
-
อินเทอร์เน็ต (ค้นหาเกี่ยวเกี่ยวกับกลุ่มดาว จักราศีต่างๆ)
|
ครูตั้งคำถามกระตุ้นความคิด
-
นักเรียนควรมีความรู้ความเข้าใจอะไรบ้างก่อนที่จะเข้าค่ายดูดาว
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันและตอบคำถาม
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลุ่มดาวต่าง
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ไดเรียนรู้
-
ครูให้นักเรียนดูข่าวเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องโชคชะตา ดวงดาว ชีวิต
-
นักเรียนเชื่อหรือไม่ว่าดวงดาวมีผลต่อชะตาชีวิตเพราะอะไรจึงคิดเช่นนั้น
-
นักเรียนทำกิจกรรมชักเย่อความคิดจากคำถาม
-
ครูและนักเรียนสรุปเรื่องการสนทนาและความเชื่ออีกครั้ง
ครูตั้งคำถามกระตุ้นความคิด
-
นักเรียนจะวางแผนสำหรับการเข้าค่ายอย่างไร
-
นักเรียนร่วมกันระดมความคิดเพื่อตอบคำถามและให้เหตุผล
-
นักเรียนและครูเข้าค่ายดูดาว
-
ครูให้นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมเข้าค่ายดูดาว
|
ชิ้นงาน
- การนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมเข้าค่ายดูดาว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7
ภาระงาน
- ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มดาว จักราศี
- การนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
-
ชักเย่อความคิด
-
การเข้าค่ายดูดาว
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมเข้าค่ายดูดาว
-เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายสามารถสังเกตและอธิบายทิศทางและลักษณะของกลุ่มดาวต่างๆรวมทั้งมีทักษะในการออกแบบวางแผนสำหรับการเข้าค่ายดูดาวร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดเตรียมสัมภาระต่างในการเข้าค่ายดูดาวได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
ทักษะการคิด
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าค่ายดูดาวทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
มีวิจารณญาณในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับการเข้าค่ายดูดาวได้อย่างมีเหตุผล
- สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถอธิบายความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับ: เกี่ยวกับกลุ่มดาว จักราศี ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- สามารถอธิบายความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับ: เกี่ยวกับการวางแผนการเข้าค่าย ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิหน้าที่ตนเองและผู้อื่นความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงานจนสำเร็จ
|
8
|
โจทย์ : ทบทวนทำชิ้นงานเพื่อขมวดความเข้าใจสู้ผู้อื่น/หนังสั้น/ละคร/นิทาน/งานศิลปะ/Animation/ฯลฯ
การตอบคำถามหลังเรียน/Mind mapping หลังเรียน
Key Questions
:
- นักเรียนจะสรุปสิ่งที่ได้เรียนผ่านชิ้นงานที่สร้างสรรค์อย่างไร
-
นักเรียนรูสึกอย่างไรจากการเรียนรู้ PBL
: Miracle Of the Space
เครื่องมือคิด
- Brainstorming
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำชิ้นงานหลังการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
- Show & Share
นำเสนอชิ้นงานอย่างสร้างสรรค์
- mind mapping
หลังเรียน PBL : Miracle Of the Space
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ภาพกิจกรรมที่นักเรียนทำทั้งหมด
-
อุปกรณ์การแสดง
-
บรรยายกาศในชั้นเรียน
- กระดาษ A3 /สีเมจิก
|
ครูตั้งคำถามกระตุ้นความคิด
-
นักเรียนรู้สึกอย่างไรบ้างและนักเรียนจะสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในรูปแบบไหนให้เกิดความน่าสนใจและสร้างสรรค์
-
นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันและตอบคำถาม
-
ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มวางแผนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งหมดผ่านชิ้นงาน เช่น
หนังสั้น/ละคร
นิทาน/งานศิลปะ
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มซ้อมการแสดงและเริ่มทำชิ้นงานตามที่ได้รับมอบหมาย
-
ครูให้นักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ได้ทำในวันที่ผ่านมา
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรคระหว่างการทำงาน
-
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอชิ้นงานหรือการแสดง
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนรู้สึกอย่างไรจากการเรียนรู้ PBL : Miracle of the Space
-
นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น
-
นักเรียนสรุปหลังเรียนในรูปแบบ Mind
mapping
|
ชิ้นงาน
- การนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ชิ้นงานจากเช่น หนังสั้น/ละครนิทาน/งานศิลปะ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8
ภาระงาน
- วางแผนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งหมดผ่านชิ้นงาน เช่น
หนังสั้น/ละครนิทาน/งานศิลปะ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรคระหว่างการทำงาน
- วางแผนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปความรู้ความเข้าใจของตนเองผ่านชิ้นงานและการแสดงที่สร้างสรรค์ได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ชิ้นงาน
เช่น หนังสั้น/ละคร/นิทาน/งานศิลปะ/ฯลฯตามความสนใจนิทาน/งานศิลปะอย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
ทักษะการคิด
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสรุปองค์ความรู้ทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
-
มีวิจารณญาณในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสะท้อนชิ้นงานและการแสดงได้อย่างมีเหตุผล
- สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถคิดสร้างสรรค์ชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
- สามารถอธิบายความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับ: เกี่ยวกับกลุ่มดาว จักราศี ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- สามารถอธิบายความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับ: เกี่ยวกับการวางแผนการเข้าค่าย ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิหน้าที่ตนเองและผู้อื่นความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงานจนสำเร็จ
|
9
|
โจทย์: สรุป/นำเสนอผ่านชิ้นงานต่างๆ/ประเมินตนเอง/จัดนิทรรศการ/การแสดง“หน่วย PBL
: The Miracle of the Space”
Key
Questions:
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนหน่วย “หน่วย PBL : The Miracle of the Space” และจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
- สิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรปรับปรุงมีอะไรบ้าง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อุปกรณ์การแสดง
- ห้องเรียน
- กระดาษ A4
|
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนโครงงาน“หน่วย PBL
: The Miracle of the Space” และจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน ผ่านเครื่องมือคิด Flow
chart Mind Mapping หรือรูปแบบอื่นตามความสนใจ
- นักเรียนและครูร่วมกันประเมินเพื่อสะท้อนผลงาน
- นักเรียนระดมความคิดเขียน“ สิ่งที่ทำได้ดี
และ สิ่งที่ควรปรับปรุง เกี่ยวกับการเรียนโครงงาน “หน่วย PBL
: The Miracle of the Space ”
- นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน ผ่านละคร คลิป ให้เพื่อนๆ น้องๆได้ชม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
|
ชิ้นงาน
- การแสดงละครเพื่อสรุปและถ่ายทอดเรื่องที่ได้เรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน ผ่านเครื่องมือคิด Flow chart /
Mind Mapping หรือรูปแบบอื่นตามความสนใจ
- ตอบคำถามจากสิ่งที่อยากเรียนรู้และประเมินตนเอง(สิ่งที่ทำได้ดีและสิ่งที่ควรพัฒนา)
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
ภาระงาน
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน ผ่านละคร คลิป
- ตอบคำถามจากสิ่งที่อยากเรียนรู้และประเมินตนเอง(สิ่งที่ทำได้ดีและสิ่งที่ควรพัฒนา)
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนมาตลอด 9 สัปดาห์ให้ผู้อื่นรับรู้ได้
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือในการการคิดวิเคราะห์ข้อมูล สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
- สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเข้าใจและได้เรียนรู้สู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะการคิด
- คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิป
รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
- คิดสร้างสรรค์ผ่านละครชิ้นงานเพื่อนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะการสื่อสาร
อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่ม
เข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงานจนสำเร็จ
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการเรียนรู้
(ตัวชี้วัด) แต่ละกลุ่มสาระ
วิชาบูรณาการ
PBL หน่วย: Home (: Miracle
of the Space) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 (Quarter 3)
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
|
- สร้างฉันทะ
และแรงบันดาลใจในการเรียนรู้
|
มาตรฐาน ว 8.1
-
ตั้งคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่อยากศึกษาได้
(ว 8.1ป.6/1
)
-
วางแผนการสังเกต
การสำรวจ เสนอ ตรวจสอบและคาดการณ์สิ่งที่จะพบได้
( ว 8.1
ป.6/2 )
-
ตั้งคำถามใหม่เพื่อการสำรวจ
ได้อย่างมีเหตุผล (ว 8.1 ป.6/5)
-
สามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในสิ่งที่ได้ดู
ได้ฟัง ได้อย่างมีเหตุผล
( ว 8.1
ป.6/6 )
-
นำเสนอหัวข้อที่อยากเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผล(ว 8.1ป.6/8 )
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
มีมารยาทและยอมรับในความคิด
และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
ได้ (ส 2.1 ป.6/ 3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1ป. 6/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชน
โดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล (ส 4.1 ป.6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
เปรียบเทียบความเหมือน
และความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(ส 4.2 ป.6/3)
|
มาตรฐาน ง1.1
-
สามารถทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
พร้อมกับยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้( ง 1.1
ป.6/2 )
-
ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง1.1 ป.6/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง
และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด ได้ (ง 2.1ป.6/4)
|
มาตรฐาน พ 2.1
สร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและต่อสมาชิกในกลุ่มเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
(พ 2.1 ป. 6/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยใช้เทคนิคเรื่องสี
แสง เงา ความกลมกลืน สื่อถึงเรื่องราวที่อยากศึกษาได้
(ศ1.1 ป. 6/1-7)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
|
- กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อ
- การวางแผนการเรียนรู้ตลอด 9 สัปดาห์
|
มาตรฐาน ว 8.1
-
ตั้งคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่อยากศึกษาได้
(ว 8.1 ป.6/1
)
-
วางแผนการสังเกต
การสำรวจ เสนอ ตรวจสอบและคาดการณ์สิ่งที่จะพบได้
( ว 8.1
ป.6/2 )
-
ตั้งคำถามใหม่เพื่อการสำรวจ
ได้อย่างมีเหตุผล
(ว 8.1
ป.6/5)
-
สามารถอธิบายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในสิ่งที่ได้ดู
ได้ฟัง ได้อย่างมีเหตุผล
( ว 8.1
ป.6/6 )
-
นำเสนอหัวข้อที่อยากเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผล
(ว 8.1 ป.6/8 )
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
มีมารยาทและยอมรับในความคิด
และความเชื่อของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
ได้ (ส 2.1 ป.6/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 ป. 6/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชน
โดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล(ส 4.1 ป.6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
-
ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
(ส 4.2 ป.6/1)
-
สรุปลักษณะที่สำคัญของ ขนมธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชน
(ส 4.2 ป.6/2)
-
เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
(ส 4.2 ป.6/3)
|
มาตรฐาน ง1.1
-
สามารถทำงานได้ด้วยตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
พร้อมกับยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
( ง 1.1
ป.6/2 )
-
ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง1.1 ป.6/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง
และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด รวมทั้งวางแผนล่วงหน้าในการเรียนได้
(ง 2.1ป.6/4)
|
มาตรฐาน พ 2.1
สร้างสัมพันธภาพต่อตนเองและต่อสมาชิกในกลุ่มเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
(พ 2.1 ป. 6/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยใช้เทคนิคเรื่องสี
แสง เงา ความกลมกลืน สื่อถึงเรื่องราวที่อยากศึกษาได้
(ศ1.1 ป. 6/1-7
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
|||||||
- อากาศ
- ระบบสุริยะ
- เทคโนโลยีอวกาศ
- ดาราศาสตร์เบื้องต้น
- ปัญหาเทคโนโลยีอวกาศในอนาคต
|
มาตรฐาน ว 7.1
- สร้างแบบจำลองและอธิบาย การเกิดฤดู ข้างขึ้นข้างแรม
สุริยุปราคา จันทรุปราคา และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 7.1 ป.6/1)
มาตรฐาน ว7.1
- สืบค้นและอธิบายความ
สัมพันธ์ระหว่าง
ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่น ๆ
และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
(ว 7.1 ม.3/1)
- สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี
และระบบสุริยะ
(ว 7.1 ม.3/2)
- ระบุตำแหน่งของกลุ่มดาว และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 7.1 ม.3/3)
มาตรฐาน ว ๗.๒
- สืบค้นอภิปรายความ
ก้าวหน้าและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
(ว 7.2 ม.3/1)
- สืบค้นและอภิปรายความ
ก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สำรวจอวกาศ
วัตถุท้องฟ้า สภาวะอากาศ ทรัพยากร ธรรมชาติ
การเกษตร และการสื่อสาร
(ว 7.2 ม.3/2)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- ปฏิบัติตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง
กับชีวิตประจำวัน ของครอบครัว
และชุมชน
(ส 2.1 ป.6/1)
- วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำรงรักษาวัฒนธรรม
อันดีงาม
(ส 2.1 ป.6/2)
- แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส 2.1 ป.6/3)
- อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรม
ที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคน
ในสังคมไทย
(ส 2.1 ป.6/4)
- ติดตามข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ต่าง
ๆ ในชีวิต ประจำวัน
เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ ได้เหมาะสม
(ส 2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 2.1
- ระบุความสามารถของตนเองในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ
(ส 2.1 ม1/2)
- อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรม
ที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีหรืออาจ
นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน
(ส 2.1 ม1/3)
- แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ
เสรีภาพของตนเองและผู้อื่น
(ส 2.1 ม1/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- อธิบายความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ
(ส 4.1 ป.6/1)
- นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลาย
ในการทำความ
เข้าใจเรื่องราว ในอดีต
(ส 4.1 ป.6/2)
- วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม 1/1)
- เทียบศักราชตามระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม 1/2)
- นำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม1/3)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- อภิปรายแนวทางใน
การทำงานและปรับปรุง
การทำงานแต่ละขั้นตอน
(ง 1.1
ป 6/1 )
-
ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานและทักษะการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1
ป 6/2 )
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานกับครอบครัวและผู้อื่น
(ง 1.1
ป 6/3 )
- วิเคราะห์ขั้นตอน การทำงาน
ตามกระบวนการทำงาน
(ง 1.1
ม 1/1 )
- ใช้กระบวนการกลุ่มใน
การทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1
ม 1/2 )
- ตัดสินใจแก้ปัญหา การทำงานอย่างมีเหตุผล
(ง 1.1
ม 1/3 )
- ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงาน
(ง 1.1
ม 2/1 )
- ใช้ทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1
ม 2/2 )
- มีจิตสำนึก
ในการทำงานและใช้ทรัพยากร
ในการปฏิบัติงาน
อย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง 1.1
ม 2/3 )
-
อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
(ง 1.1
ม 3/1 )
- ใช้ทักษะ
ในการทำงานร่วมกัน
อย่างมีคุณธรรม
(ง 1.1
ม 3/2 )
- อภิปรายการทำงานโดยใช้ทักษะการจัดการเพื่อ
การประหยัดพลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม
(ง 1.1
ม 3/3 )
|
- อากาศ
- ระบบสุริยะ
- เทคโนโลยีอวกาศ
- ดาราศาสตร์เบื้องต้น
|
มาตรฐาน ว 7.1
- สร้างแบบจำลองและอธิบาย การเกิดฤดู ข้างขึ้นข้างแรม
สุริยุปราคา จันทรุปราคา และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 7.1 ป.6/1)
มาตรฐาน ว7.1
- สืบค้นและอธิบายความ
สัมพันธ์ระหว่าง
ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่น ๆ
และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
(ว 7.1 ม.3/1)
- สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี
และระบบสุริยะ
(ว 7.1 ม.3/2)
- ระบุตำแหน่งของกลุ่มดาว และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 7.1 ม.3/3)
มาตรฐาน ว ๗.๒
- สืบค้นอภิปรายความ
ก้าวหน้าและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
(ว 7.2 ม.3/1)
- สืบค้นและอภิปรายความ
ก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สำรวจอวกาศ
วัตถุท้องฟ้า สภาวะอากาศ ทรัพยากร ธรรมชาติ
การเกษตร และการสื่อสาร
(ว 7.2 ม.3/2)
|
||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
|||||||
เทคโนโลยีอวกาศ
- ปัญหาเทคโนโลยีอวกาศในอนาคต
- แรงและการเคลื่อนที่
- การทดลอง
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจได้
(ว 8.1 ป.6/1)
- วางแผนการสังเกตสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า
คาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบ
(ว 8.1 ป.6/2)
- เลือกอุปกรณ์และวิธีการสำรวจตรวจสอบที่ถูกต้อง
เหมาะสมให้ได้ผลที่ครอบคลุมและเชื่อถือได้
(ว 8.1 ป.6/3)
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบได้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 ป.6/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระอธิบายลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
(ว 8.1 ป.6/6)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- แสดงออกถึงมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส 2.1 ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
(ส 2.2 ป.6/2)
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน
(ส 3.1 ป.6/2)
- ใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนและคุ้มค่า (ส 3.1 ป.6/3)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- เทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.1/2)
- ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ
ที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม (ส 4.1
ม.1/3)
- วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่างๆที่สนใจศึกษา
(ส 4.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน พ 2.1
เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาจากการทำงาน
(พ 2.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์ผลของการใช้เทคโนโลยีที่มีต่อสุขภาพ
(พ 4.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
(ง 1.1 ม.2/1)
- ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.2/2)
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง 1.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 2.1
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม
สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(ง 2.1 ม.2/4)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน (ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง (ศ 3.1 ม.1/4)
|
||||||
- นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 ป.6/8)
มาตรฐาน
ว 4.
-ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรง ในระนาบเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ
ว 4.1( ม.2/1)
-อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่
ด้วยความเร็ว
คงตัว
ว 4.1( ม.2/2)
- อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่ทำต่อวัตถุ
ว 4.1( ม.3/1)
- ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ระหว่างวัตถุ
และนำความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ว 4.1( ม.3/2)
-ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว ที่กระทำต่อวัตถุ
ว 4.1( ม.3/3)
มาตรฐาน
ว 4.1
ความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรง และนำความรู้ไปใช้
ว 4.2( ม.3/1)
|
มาตรฐาน ง 2.1
- ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลตามที่สนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ง 3.1 ป.6/2)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ป.6/5)
|
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
- เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฎศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
(ศ 3.1 ม.2/5)
มาตรฐาน ศ 3.1
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
(ศ 3.2 ป.6/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
|
- ตัวเรา ตนเอง
- ครอบครัว
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจได้
(ว 8.1ป.6/1)
-วางแผนการสังเกตสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า
คาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบ
(ว 8.1ป.6/2)
- เลือกอุปกรณ์และวิธีการสำรวจตรวจสอบที่ถูกต้อง
เหมาะสมให้ได้ผลที่ครอบคลุมและเชื่อถือได้
(ว 8.1ป.6/3)
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบได้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1ป.6/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระอธิบายลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
(ว 8.1ป.6/6)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- แสดงออกถึงมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส 2.1 ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
(ส 2.2 ป.6/2)
มาตรฐาน ส 3.1
ใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนและคุ้มค่า (ส 3.1 ป.6/3)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- เทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์
(ส4.1 ม.1/2)
- ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ
ที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม (ส4.1 ม.1/3)
- วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่างๆที่สนใจศึกษา
(ส4.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน พ 2.1
- วิเคราะห์สื่อ
เรื่องราวที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต
(พ 1.1 ม.3/3)
- เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาจากการทำงาน
(พ 2.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์ผลของการใช้เทคโนโลยีที่มีต่อสุขภาพ
(พ 4.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
(ง 1.1 ม.2/1)
- ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.2/2)
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง 1.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 2.1
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม
สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(ง 2.1 ม.2/4)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็น กลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง (ศ 3.1 ม.1/4)
|